รับสอน matlab เขียน matlab และ ทำ วิจัย ด้วย MATLAB
รับเขียน และ ทำ วิจัย ด้วย MATLAB ทางด้าน วิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์
จากประสบการณ์ ทำงานที่ ปั้นปลาย ของ งานต้อง แสดงผลลัพธ์ ด้วย การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ความเข้าใจ คณิตศาสตร์ ที่นำมาประยุกต์ ใช้ในงาน นับว่า เป็น ความสำคัญ อันดับแรก การเขียนโปรแกรม ถือ เป็นปัญหารอง
การเขียนโปรแกรม โดยปราศจาก ความเข้าใจ ในคณิตศาสตร์ อย่างถ่องแท้ อาจก่อเกิด ปัญหา มากมายเช่น
1) โปรแกรม ใช้ได้เฉพาะ บางข้อมูล
2) โปรแกรม ประมวลผลช้า
3) โปรแกรม ให้ผลลัพธ์ ที่ไม่ถูกต้อง
ปัญหา ข้างบนนี้ แก้ไม่ได้ ด้วยการ เขียนโปรแกรม
Matlab เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ และ เครื่องมือที่ดี ในการใช้ทำงานวิจัย หรือ โปรเจกต่างๆ เพราะ มีฟังก์ชันรองรับ อยู่มาก ซึ่งจะช่วยทำให้งานเสร็จ เร็วมากขึ้น แต่ Matlab ก็ไม่ใช่ เป็นเ งื่อนไข ที่สำคัญที่สุด ในการทำวิจัยปัญหาจริงๆ อยู่ที่ความ เข้าใจใน กระบวนการ ที่จะทำตลอดจน คณิตศาสตร์ต่างๆ ที่ใช้อธิบาย ในงานวิจัยซึ่ง เป็นปัญหา ที่สำคัญ และ ความเข้าใจใน คณิตศาสตร์เหล่านี้ จะ นำมา เป็นหลักการ และ แนวคิดที่ใช้ สำหรับเขียนโปรแกรม ที่ถูกต้อง และ อธิบายได้ใน ปัญหาที่เกิด ขึ้นต่อไป รับเขียนโปรแกรม รับทำเว็บไซต์
เราจะเริ่ม สอน ด้วย การเขียนโปรแกรมการตรวจับสีผิวโดยใช้สี
YCbCr ด้วย Matlab รับสอน matlab
แบบจำลองสี (Color Model)
แบบจำลองสี เป็น วิธีที่กําหนดสีต่าง ๆ ให้เป็น แบบ มาตรฐาน ซึ่งแบบ จําลอง สีในแต่ ละ แบบก็ จะมีคุณสมบัติ แตกต่าง กัน ออกไป
จึง เหมาะสม สําหรับ การใช้งาน ที่ แตกต่างกัน ในแบบจําลองของสีนั้นจะใช้สีหลัก ๆ ที่เรียกว่าแม่สีมาผสมผสานกลมกลืนกันเพื่อใช้ ในการแสดงค่าสีอื่น ๆ โดยแม่สีหลักนั้นจะแตกต่างกันไปตามแบบจําลองแต่ละชนิด
แบบจำลองสี YCbCr รับสอน matlab
แบบจำลองสี YCbCr ถูกใช้อย่างกว้างขวางในสัญญาณวิดีโอดิจิตอล มีการประยุกต์ใช้งานในด้านการลดขนาดของข้อมูลของภาพชนิด JPEG และขนาดข้อมูลวิดีโอ MPEG ในแบบจําลองนี้ Y จะเก็บข้อมูลของความเข้มแสง (Luminance) ส่วน Cbและ Cr จะเก็บข้อมูลของแสงสี
clc,
close all,
clear all,
%%
img_orig=imread(‘car6.jpg’);
figure, imshow(img_orig)
img=img_orig; %copy of original image
%%
img_g = rgb2gray(img);
img_g1 = img_g;
%%
ycbcr = rgb2ycbcr(img);
y=ycbcr(:,:,1);
cb=ycbcr(:,:,2);
cr=ycbcr(:,:,3);
figure, imshow(cb), impixelinfo
figure, imshow(cr), impixelinfo
figure, imshow(y), impixelinfo
%%
[r c] = size(y);
%%
for i = 1:r
for j = 1:c
if cb(i,j) >= 110 && cb(i,j) <= 120 && cr(i,j) >= 137 && cr(i,j) <= 142
%img_g(i,j) = img_g(i,j);
img_g(i,j) = 255;
else
img_g(i,j) = 0;
end
end
end
figure, imshow(img_g), impixelinfo
%%
imf = imfill(img_g, ‘holes’);
figure, imshow(imf), impixelinfo
%%
imbw = bwareaopen(imf, 5000);
figure, imshow(imbw), impixelinfo
%%
m = img_g1 .* uint8(imbw);
figure, imshow(m), impixelinfo
%%
[rimbw cimbw] = size(imbw);
for iimbw = 1:rimbw
for jimbw = 1:cimbw
if imbw(iimbw,jimbw) == 1
%img_g(i,j) = img_g(i,j);
img_orig(iimbw,jimbw,:) = img_orig(iimbw,jimbw,:);
else
img_orig(iimbw,jimbw,:) = 0;
end
end
end
figure, imshow(img_orig), impixelinfo
Reference : https://piyawat1989.files.wordpress.com/2017/03/618466ch5_2_59.pdf
หมายเหตุท้าย:
หากคุณชอบบทความนี้อย่าลืมคลิก❤ด้านล่างเพื่อแนะนำและถ้าคุณมีคำถามใด ๆ แสดงความคิดเห็นและฉันจะพยายามอย่างดีที่สุดที่จะตอบ คุณสามารถติดตามฉันบน facebook page (https://www.facebook.com/nextsoftwarehousethailand/) และสามารถส่งอีเมลถึงฉัน
ขอให้ทุกคนมีวันที่ดี 🙂
ตะแกรงเหล็กไวร์เมช ตะแกรงเหล็ก ไวร์เมช Wire Mesh มีกำลังคลาก (Yield Strength) สูงกว่าเหล็กเส้นธรรมดาที่ใช้กันอยู่ทั่วไปถึง 2 เท่า จึงทำให้ประหยัดวัสดุ ประกอบกับตะแกรงเหล็ก ไวร์เมช สามารถผลิตได้ตามต้องการ จึงไม่เสียเศษเหล็ก จึงทำให้ไม่มีการสูญเปล่า
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
1. เรื่องตะแกรงเหล็กไวร์เมช
ในโลกที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตะแกรงเหล็กไวร์เมช กลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้การกักกันของวัตถุต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้งานง่าย และมีความทนทาน ตะแกรงเหล็กไวร์เมชเป็นเครื่องมือที่ไม่สามารถหาทดแทนได้ในการป้องกันอันตรายและการใช้งานทั่วไป เช่น การใช้เป็นระบบกันกรองอากาศในอุตสาหกรรมหรือการป้องกันความปลอดภัยในสถานที่ต่าง ๆ ตะแกรงเหล็กไวร์เมชยังเป็นเครื่องมือที่มีความสวยงามและสามารถปรับแต่งให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ง่าย