Python คืออะไร
รับสอน Python ทั้งแบบเบื้องต้นและ Advanced ภาษาไพทอนเป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่ถูกออกแบบมาให้อ่านและใช้งานง่าย เนื่องจากความ ซับซ้อนของโครงสร้างและไวยกรณ์ในภาษาถูกตัดออกไป การแปลงคำสั่งที่เราเขียนด้วยภาษาไพทอนให้เป็น ภาษาเครื่องเป็นการทำงานแบบอินเตอร์พรีต (Interpret) ซึ่งเป็นการแปลงคำสั่งทีละบรรทัดเพื่อป้อนเข้าสู่หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ภาษาไพทอนสามารถนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ หลากหลายประเภทจึงมีการนำไปใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น การพัฒนาเว็บไซต์หรือเว็บแอปพลิเคชัน การ พัฒนาเกม หรือการพัฒนาแอปพลิเคชันของ IoT (Internet of Things) รับสอน Python ทั้งแบบเบื้องต้นและ Advanced
- ประวัติของภาษาไพทอน
รับสอน Python ทั้งแบบเบื้องต้นและ Advanced ภาษาไพทอนเริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1989 โดยโปรแกรมเมอร์ชาวเนเธอร์แลนดืที่ชื่อคีโด ฟาน โรสซึม (Guido van Rossum) ในตอนนั้นเขาทำงานอยู่ที่สถาบันวิจัยแห่งชาติ Centrum Wiskunde & Informatica หรือ CWI ซึ่งเป็นสถาบันวิจัยทางด็านคณิตศาสตรืและวิทยาการคอมพิวเตอร์ในเมือง อัมสเตอรืดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ Python 1.0 ซึ่งเป้นเวอร์ชั่นแรกถูกปล๋อยออกมาใช็งานในป๊ค.ศ. 1994 หลังจากนั้นภาษาไพทอนยังคงมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร็างภาษาให็มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอย๋าง ต๋อเนื่อง ทั้งนี้เวอรืชั่น ณ ขณะเขียนหนังสือเล่มนี้ คือ 3.9.5 [1] 1.5 การแปลภาษาโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง โดยทั่วไปคอมพิวเตอรืจะสามารถเข้าใจภาษาโปรแกรมระดับสูงได้เมื่อภาษาโปรแกรมระดับสูงถูกแปล ให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) ที่อยู๋ในรูปแบบรหัสคำสั่ง วิธีการนี้เรียกว๋าการแปลภาษา ซึ่งมีสอง วิธีด็วยกันคือ การคอมไพล (Compile) และ การอินเตอรืพรีต (Interpret)
- การคอมไพล์ (Compile)
การคอมไพล์มีลักษณะคล็ายนักแปลเอกสารที่มีตัวแปลภาษาเรียกว๋า คอมไพเลอร(Compiler) ที่จะ แปลภาษาคอมพิวเตอรืทั้งหมดทุกส่วนให้เป็นภาษาเครื่อง และส๋งให็กับคอมพิวเตอรืก่อนนำไปใช้งานต่อไป โดยปกติแล้วคอมไพเลอร์สามารถแปลงโปรแกรมให็ใช็งานได็บนหน๋วยประมวลผลและระบบปฏิบัติการที่ถูก ออกแบบมาแล็วเท๋านั้น ไม๋สามารถใช็งานข็ามระบบได็ การอินเตอรืพรีต (Interpret) การอินเตอร์พรีตจะมีลักษณะคล็ายล๋ามแปลภาษาที่มีตัวแปลภาษาเรียกว๋า อินเตอรืพรีเตอร์(Interpreter) ที่จะแปลภาษาคอมพิวเตอร์เป็นภาษาเครื่องทีละส่วน (ทีละคำสั่ง) และจะวนการทำงานไปเรื่อย ๆ จนครบทุกบรรทัด โดยปกติแล้วอินเตอร์พรีเตอรืสามารถแปลโปรแกรมให้ใช้งานได้บนทุกหน่วยประมวลผล และระบบปฏิบัติการ ซึ่งภาษาไพทอนใช้การอินเตอร์พรีตในการแปลเป้นภาษาเครื่องและสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทำงาน การแปลแบบผสม การแปลแบบผสมคือการนำวิธีการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ไปเป้นภาษาเครื่องในสองวิธีแรกมารวมกัน ขั้นแรกภาษาคอมพิวเตอร์จะถูกแปลงไปเป้นภาษากลาง (Intermediate language) ด็วยการคอมไพลืกก่อน หลังจากนั้นภาษากลางจะถูกแปลงให้เป็นภาษาเครื่องด้วยวิธีการอินเตอร์พรีตอีกครั้งก่อนจะส่งให้คอมพิวเตอร์นำไปประมวลผลต์อไป 1.6 เครื่องมือที่ใช์สำหรับการพัฒนาโปรแกรมภาษาไพทอน นักพัฒนาใช้เครื่องมือต่างๆในการพัฒนาโปรแกรม โดยอาจจะใช Editor หรือ โปรแกรมแก้ไข ตัวอักษร ในการเขียนชุดคำสั่งต่าง ๆ แล้วทำการแปลภาษาไพทอนเป็นชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์และทำงาน ตามคำสั่งด้วย Interpreter โดยมีทั้งเครื่องมือที่ใช้งานได้แบบไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น Visual Studio Code [2] และเครื่องมือที่มีไม่มีค่าใช้จ่าย Visual Studio [3] หรือจะใช้ชุดเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมที่มีทั้ง Editor และ Interpreter อยู่ด้วยกันแบบโปรแกรม IDLE [1] ที่จะแนะนำในบทต่อไปก็ได้
- การติดตั้งภาษาไพทอนและการทดลองใช้
ขั้นแรกของการเริ่มต้นเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนคือ การติดตั้งภาษาไพทอนเพื่อให้ชุดคำสั่งของ ภาษาไพทอนสามารถทำงานได้ ผู้เขียนขอแนะนำวิธีที่ดำเนินการได้ง่ายสำหรับผู้ที่เริ่มเรียนรู้การเขียนโปรแกรม โดยการติดตั้งชุดเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับภาษาไพทอนที่สามารถดาวน์โหลดได้โดยไม่มี ค่าใช้จ่ายจากเว็บไซต์ของ Python Software Foundation (https://www.python.org [4]) ดังแสดงในรูป ที่ 2.1 ทั้งนี้โดยทั่วไปชุดเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Integrated Development Environment หรือ IDE ซึ่งประกอบไปด้วยอินเตอรพรีเตอร์ที่ทำหน้าที่แปลประโยค คำสั่งที่เขียนด้วยภาษาโปรแกรมระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและยังมีเท็กซ์เอดิเตอร (text editor) ให้มาอีกด้วย ชุดเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับภาษาไพทอนที่จะดาวน์โหลดมีชื่อ่ว่าIDLE สามารถดาวน โหลดได้จากเว็บไซต์ของ Python Software Foundation (https://www.python.org [4]) ผู้อ่านสามารถ เลือกเวอร์ชั่นที่เหมาะสมกับระบบปฏิบัติการที่ตนเองใช้อยู่ได้จากเมนูดาวน์โหลด เช่น “Download Windows x86-64 executable installer” สำหรับผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 64 bit เป็นต้น
รูปที่ 1.2 หน้าเว็บไซต์ Python Software Foundation (https://www.python.org) เพื่อดาวน์โหลดชุดเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม IDL